Show Posts

This section allows you to view all posts made by this member. Note that you can only see posts made in areas you currently have access to.


Topics - tha

Pages: [1] 2 3 ... 23
1
ARM Processors / STM32 Timers #9. One Pulse Mode
« on: March 04, 2023, 09:26:52 am »
https://controllerstech.com/stm32-timers-9-one-pulse-mode/

ขอแปลหน่อยนะครับ ขอขอบคุณเขามา ณ ที่นี้ด้วย ท่านใดพอจะมีทรัพย์ก็ Donate เขาด้วยนะ ฟังภาษาอังกฤษเขาในยูทูบก็ฟังง่ายดี(เปิดคำบรรยายด้วย)ครับ

                                                        STM32 Timers #9. One Pulse Mode

นี้เป็น the 9th tutorial ใน the STM32 Timer series และวันนี้เราจะเห็น timer feature อื่น, ตัวอย่างเช่น the one pulse mode.

One-pulse mode ถูกใช้เพื่อสร้าง a pulse ของ a programmable length เพื่อตอบสนองต่อ an external event. The pulse สามารถสตาร์ททันทีที่ the input trigger มาถึงหรือหลังจาก a programmable delay. เราสามารถควบคุมการสตาร์ทของ the pulse ได้เช่นเดียวกับ the pulse width.

The waveform สามารถถูกโปรแกรมเพื่อให้มี a single pulse ที่สร้างโดย the trigger, หรือเพื่อให้มี a continuous pulse train ที่สตาร์ทโดย  a single trigger.

One-pulse mode ยังเสนอตัวเลือกที่สามารถทริกซ้ำได้ ในกรณีนี้ ทริกใหม่ที่มาถึงก่อนจุดสิ้นสุดของ the pulse จะทำให้ the counter ถูกรีเซ็ตและความกว้างของพัลส์จะถูกขยายตามไปด้วย.


2
ARM Processors / STM32 ETHERNET #8 UDP Client using LWIP NETCONN (RTOS)
« on: February 25, 2023, 07:25:17 am »
https://controllerstech.com/udp-client-using-netconn-with-rtos-in-stm32/

ขอแปลหน่อยนะครับ ขอขอบคุณเขามา ณ ที่นี้ด้วย ท่านใดพอจะมีทรัพย์ก็ Donate เขาด้วยนะ ฟังภาษาอังกฤษเขาในยูทูบก็ฟังง่ายดี(เปิดคำบรรยายด้วย)ครับ

                                           UDP Client using LWIP NETCONN (RTOS)

บทช่วยสอนนี้จะครอบคลุม STM32 ในฐานะ a UDP client โดยใช้ the LWIP ที่มี NETCONN and FREE RTOS. เราได้กล่าวถึง the RAW UDP Client เมื่อไม่กี่เดือนก่อน แต่วันนี้เราจะเพิ่ม FREE RTOS และ NETCONN เข้าไปด้วย

NOTE: ฉันใช้ STM32F750 Discovery Board, ซึ่งมี the RMII connection type และ the CubeMX ไม่อนุญาตห้มีการกำหนดค่า
             หน่วยความจำสำหรับ the Ethernet.


เริ่มต้นด้วยการตั้งค่า CubeMX ซึ่งค่อนข้างเหมือนกับ the last tutorial.

3
ARM Processors / STM32 ETHERNET #7 UDP Server using LWIP NETCONN (RTOS)
« on: February 22, 2023, 09:47:12 am »
https://controllerstech.com/udp-server-using-netconn-with-rtos-in-stm32/

ขอแปลหน่อยนะครับ ขอขอบคุณเขามา ณ ที่นี้ด้วย ท่านใดพอจะมีทรัพย์ก็ Donate เขาด้วยนะ ฟังภาษาอังกฤษเขาในยูทูบก็ฟังง่ายดี(เปิดคำบรรยายด้วย)ครับ

                                                 UDP Server using LWIP NETCONN (RTOS)

นี่เป็นอีกหนึ่งบทช่วยสอนใน STM32 ETHERNET Series แต่ด้วยบทช่วยสอนนี้ เราจะเริ่มต้นอีเทอร์เน็ตด้วย RTOS, NETCONN เพื่อให้แม่นยำ จนถึงตอนนี้เราได้กล่าวถึงโปรโตคอล UDP, TCP และ HTTP แล้ว แต่ทั้งหมดนั้นใช้ RAW Library, ซึ่งไม่ใช่วิธีที่ the ETHERNET ถูกใช้โดยทั่วไป

มันเป็นเพียงการทำความเข้าใจว่าแต่ละโปรโตคอลสามารถทำอะไรได้บ้าง และทำงานอย่างไรในระดับพื้นฐาน เริ่มต้นบทช่วยสอนนี้เป็นต้นไป เราจะใช้ NETCONN Library ซึ่งใช้ RTOS และเป็นอีกเลเยอร์หนึ่งที่อยู่ด้านบนของ the basic UDP, TCP functions.

ดังนั้นในบทช่วยสอนนี้ เราจะเริ่มต้นด้วย UDP Server โดยใช้ NETCONN

NOTE:  ผมกำลังใช้ STM32F750 Discovery Board, ซึ่งมี the RMII connection type และไม่มี memory configuration option.
            หากคุณต้องการอันที่มี the memory configuration, โปรดดูที่
     https://youtu.be/Wg3edgNUsTk

4
UM1713

User manual

Developing applications on STM32Cube with LwIP TCP/IP stack

Introduction

STMCube™ เป็นความคิดริเริ่มของ STMicroelectronics ที่ช่วยให้ชีวิตนักพัฒนาง่ายขึ้นโดยลดความพยายาม เวลา และต้นทุนในการพัฒนา. STM32Cube ครอบคลุมผลงานของ STM32.

STM32Cube Version 1.x ประกอบด้วย:
•   The STM32CubeMX, a graphical software configuration tool ที่ช่วยให้สร้าง C initialization code โดยใช้ graphical
     wizards.
•   A comprehensive embedded software platform, ที่ส่งมอบต่อซีรีส์ (อย่างเช่น STM32CubeF4 สำหรับ STM32F4 series)
     –   The STM32Cube HAL, an STM32 abstraction layer embedded software, เพื่อให้มั่นใจว่าสามารถถือได้สูงสุดพาดผ่าน
          STM32 portfolio
     –   ชุดที่ตรงกันของ middleware components อย่างเช่น RTOS, USB, TCP/IP, Graphics
     –   ทุก embedded software utilities มาพร้อมกับชุดเต็มของตัวอย่าง.

5
ARM Processors / STM32 Timers#8 Make 48 bit Counter by Cascading Timers
« on: February 08, 2023, 08:50:37 am »
https://controllerstech.com/stm32-timers-8-make-48-bit-counter-by-cascading-timers/

ขอแปลหน่อยนะครับ ขอขอบคุณเขามา ณ ที่นี้ด้วย ท่านใดพอจะมีทรัพย์ก็ Donate เขาด้วยนะ ฟังภาษาอังกฤษเขาในยูทูบก็ฟังง่ายดี(เปิดคำบรรยายด้วย)ครับ

Make 48 bit Counter by Cascading Timers

นี้คือ the 8th tutorial ใน the STM32 Timer series, และวันนี้เราจะมาดูวิธีการเรียง 16 bit counters 3 ตัวให้เป็น a single 48 bit counter. นี่เป็นบทช่วยสอนอีกบทหนึ่งที่ครอบคลุม the timer synchronization และวันนี้เราจะมาดูวิธีซิงโครไนซ์ the timers โดย the External Clock mode.

สำหรับวัตถุประสงค์ของ the application, ฉันจะรวม the 16bit timers 2 ตัวเพื่อทำ a 32 bit counter, และใช้ counter นี้เพื่อวัดช่วงความถี่ที่กว้างขวาง. มันจะเอาชนะข้อเสียของการใช้ a 16 bit counter, ที่เราสามารถวัดได้ถึงแบนด์วิดท์หนึ่งเท่านั้นเนื่องจากขนาดของ counter.
ในทำนองเดียวกัน คุณสามารถรวม 16bit timers 3 ตัวเพื่อทำ a 48bit counter, หรือ 4 timers เพื่อทำ 64bit counter.

ในบทช่วยสอนนี้ ฉันจะใช้ 2 timers, TIM1 and TIM3. TIM3 เป็น the slave ของ TIM1 และถูกควบคุมโดย the trigger ITR0. นี่เป็นไปตาม the internal trigger connection table ใน the F446RE reference manual.



เมื่อ the timers ถูกใช้ใน the slave mode (External Clock mode), the output ของ the master timer จะถูกใช้เป็น the input clock สำหรับ the slave timer. เมื่อทำเช่นนั้น , the APB clock จะยังคงรันที่ max clock speed และ the master timer’s counter ก็เช่นกัน. แต่ the slave timer จะช้าลง, ซึ่งช่วยให้เราวัดความถี่ที่ต่ำกว่าได้.

เราจะเห็นสิ่งนี้ในแอปพลิเคชัน มาดูการตั้งค่ากันก่อน

6
https://controllerstech.com/stm32-timers-7-timer-synchronization-slave-reset-mode/

ขอแปลหน่อยนะครับ ขอขอบคุณเขามา ณ ที่นี้ด้วย ท่านใดพอจะมีทรัพย์ก็ Donate เขาด้วยนะ ฟังภาษาอังกฤษเขาในยูทูบก็ฟังง่ายดี(เปิดคำบรรยายด้วย)ครับ

Timer synchronization || Slave Reset mode

นี่คือ the 7th tutorial ใน the STM32 Timer series, และวันนี้เราจะมาดูวิธีใช้ the slave Reset mode. นี่เป็นอีกหนึ่งบทช่วยสอนที่ครอบคลุม the timer synchronization และวันนี้เราจะมาดูวิธีซิงโครไนซ์ the timers โดยใช้ the reset mode.

ฉันได้กล่าวถึง the slave trigger mode แล้ว, ซึ่ง the Update Event (UEV) ที่สร้างโดย the master ถูกใช้เพื่อกลับมาทำงานต่อ the counter of the slave timer. Reset mode ก็ทำงานในลักษณะเดียวกันด้วย, ยกเว้น the UEV จะรีเซ็ต the counter of the slave timer.

7
ARM Processors / STM32 Timers#6 Timer sync || Generate 3 Phase PWM
« on: February 06, 2023, 05:58:42 am »
https://controllerstech.com/stm32-timers-6-timer-synchronization-generate-3-phase-pwm/

ขอแปลหน่อยนะครับ ขอขอบคุณเขามา ณ ที่นี้ด้วย ท่านใดพอจะมีทรัพย์ก็ Donate เขาด้วยนะ ฟังภาษาอังกฤษเขาในยูทูบก็ฟังง่ายดี(เปิดคำบรรยายด้วย)ครับ

How to Generate 3 Phase PWM

นี้คือ 6th tutorial ใน the STM32 Timer series, และวันนี้เราจะกล่าวถึง Timer synchronization feature อีกแบบหนึ่งซึ่งเราจะสร้าง a 3 phase PWM waveform.

ในบทช่วยสอนก่อนหน้านี้เราได้เห็นวิธีที่ the Trigger mode สามารถถูกใช้เพื่อสตาร์ท the counter ของ the slave timer ได้อย่างไร. The slave counter จะสตาร์ทก็ต่อเมื่อ the counter of the master timer เกิด overflows. แต่สมมติว่าสถานะการณ์ที่เราต้องการสตาร์ท the slave counter เมื่อ the master counter มีค่าถึงค่าหนึ่ง. นี่เป็นความต้องการพื้นฐานสำหรับการสร้าง a 3 phase or 2 phase PWM, และเราไม่สามารถบรรลุได้ด้วยวิธีการก่อนหน้านี้ที่เราใช้.

ดังนั้นวันนี้ในบทช่วยสอนนี้ เราจะมาดูกันว่าเราจะควบคุมการสตาร์ทของ the slave counter ได้อย่างไรโดยการเซ็ตขอบเขตสำหรับ the master counter.

8
ARM Processors / STM32 Timers#5 Timer Synchronization || Slave trigger mode
« on: February 01, 2023, 11:29:21 am »
https://controllerstech.com/stm32-timer-synchronization-slave-trigger-mode/

ขอแปลหน่อยนะครับ ขอขอบคุณเขามา ณ ที่นี้ด้วย ท่านใดพอจะมีทรัพย์ก็บริจาคเขาด้วยนะ ฟังภาษาอังกฤษเขาในยูทูบก็ฟังง่ายดี(เปิดคำบรรยายด้วย)ครับ

Timer synchronization || Slave Trigger mode

นี้คือ the 5th tutorial ใน the STM32 Timer series, และวันนี้เราจะดูวิธีซิงโครไนส์ the Timers. Timer synchronization จะมี tutorials เพิ่มเติมและวันนี้เราจะสตาร์ทด้วย the slave trigger mode.

Trigger mode จะควบคุมการสตาร์ทของ the slave counter. ที่นี่ the master timer ปล่อยออก a trigger signal, ซึ่งจะกลับคืนมานับต่อบน the slave timer.



ดังแสดงในรูปภาพข้างบน, the TIMER 2 (Slave) counter เคยถูกหยุดที่ 45. ทันทีที่ the TIM1 (master) ปล่อยออก Update Event (UEV) signal, the TIM2 counter กลับคืนมานับต่อ.

โปรดทราบว่า the counter จะไม่รีเซ็ตเป็น 0 แต่จะกลับมาทำงานต่อจากตำแหน่งที่มันเคยถูกหยุดชั่วคราว. นอกจากนี้ the trigger mode จะควบคุมเฉพาะการสตาร์ทของ the counter, และไม่ the stop.

Pages: [1] 2 3 ... 23